วันอาทิตย์ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

Recorded Diary 15 Thursday 28 April 2016

Recorded Diary 15




โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล 
(Individualized Education Program)


- แผน IEP
- แผนการศึกษาที่ร่างขึ้น
- เพื่อให้เด็กพิเศษแต่ละคนได้รับการสอน และการช่วยเหลือฟื้นฟูให้เหมาะสมกับความต้องการและความสามารถของเขา
- ด้วยการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก
- โดยระบุเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดการใช้แผนและวิธีการวัดประเมินผลเด็ก


IEP ประกอบด้วย
- ข้อมูลส่วนตัวของเด็ก
- ระบุว่าเด็กมีความจำเป็นต้องได้รับบริการพิเศษอะไรบ้าง
- การระบุความสามารถของเด็กในขณะปัจจุบัน
- เป้าหมายระยะยาวประจำปี / ระยะสั้น
- ระบุวัน เดือน ปี ที่เริ่มทำการสอน และคาดคะเนการสิ้นสุดของแผน
- วิธีการประเมินผล


ประโยชน์ต่อเด็ก
- ได้เรียนรู้ตามความสามารถของตน
- ได้มีโอกาสพัฒนาตามศักยภาพของตน
- ได้รับการศึกษาและฟื้นฟูอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
- ถ้าเด็กเข้าเรียนในโรงเรียนจะไม่ถูกจัดเข้าชั้นเรียนเฉยๆ




ขั้นตอนการจัดทำแผนการศึกษารายบุคคล


1.การรวบรวมข้อมูล
- รายงานทางการแพทย์
- รายงานการประเมินด้านต่างๆ
- บันทึกจากผู้ปกครอง ครู และผู้ที่เกี่ยวข้อง



      2. การจัดทำแผน
- ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง
- กำหนดจุดมุ่งหมายระยะยาวและระยะสั้น
- กำหนดโปรแกรมและกิจกรรม
- จะต้องได้รับการรับรองแผนการศึกษาเฉพาะบุคคลจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง


      3. การใช้แผน
- เมื่อแผนเสร็จสมบูรณ์ ครูจะนำไปใช้โดยจะใช้แผนระยะสั้น
- นำมาทำเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
- แยกย่อยขั้นตอนการสอนให้เหมาะกับเด็ก
- จัดเตรียมสื่อและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน


      4. การประเมินผล
- โดยทั่วไปจะประเมินภาคเรียนละครั้ง หรือย่อยกว่านั้น
- ควรมีการกำหนดวิธีการประเมิน และเกณฑ์วัดผล



กิจกรรมในชั้นเรียน



ใช้สีเทียนระบายเป็นวงกลมวนไปรอบๆใช้สีอะไรก็ได้
เป็นการทายลักษณะนิสัยลึกๆ โดยสีที่อยู่ในวงในบ่งบอกถึงลักษณะนิสัยลึกๆ
ส่วนสีที่อยู่วงนอกสุด คือสิ่งที่เราเเสดงออกมาให้ผู้อื่นได้เห็น 



จากสีที่ได้นั้นให้ความหมายว่า
สีเหลือง ที่อยู่ด้านในสุด
คือนิสัยลึกๆของเรา
หมายถึง ความหวังและสติปัญญา

สีน้ำเงิน ที่อยู่ด้านนอกสุด
คือนิสัยที่แสดงออกมาให้ผู้อื่นเห็น
หมายถึง ความสุขุมและใจเย็น

จากสีที่ระบาย
สรุปได้ว่า เป็นคนค่อนข้างอารมณ์เย็นหากเมื่อใดโกรธ หรือหงุดหงิดจะสามารถควบคุมอารมณ์ตนเองไว้ได้
               

จากนั้นให้ทุกคนนำเอาวงกลมที่ตัวเองระบายสี ร่วมกันแปะบนต้นไม้






อาจารย์มอบรางวัลเด็กดี






Classroom Evaluation
ห้องเรียนสะอาดเรียบร้อย บรรยากาศน่าเรียน แอร์เย็นสบาย

Self Evaluation
เข้าเรียนตรงเวลา แต่งการสะอาดเรียบร้อย ตั้งใจเรียนจดบันทึกตาม มีส่วนร่วมในกิจกรรมกับเพื่อนๆ
Evaluation for Classmated
เพื่อนแต่งกายเรียบร้อย มีส่วนร่วมในการถามและตอบกับอาจารย์ 
Evaluation Teacher
อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา แต่งการสุภาพเรียบร้อย มีเทคนิคการสอนที่เข้าใจง่าย มีตัวอย่างให้ดู มีความเป็นกันเองกับนักศึกษา สอนสนุกไม่อึดอัด





Recorded Diary 14 Friday 22 April 2016


Recorded Diary 14













การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับพฤติกรรมเด็กปฐมวัย
ที่มีความต้องการพิเศษ

-เพื่อให้เด็กสามารถช่วยเหลือตนเองได้ในชีวิตประจำวัน

-ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้ใกล้เคียงกับคนปกติมากที่สุด 
-เน้นการดูแลแบบองค์รวม (Holistic Approach)

1. การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษา
-เพิ่มทักษะพื้นฐานด้านสังคม การสื่อสาร และทักษะทางความคิด
-เกิดผลดีในระยะยาว
-เน้นการเตรียมความพร้อมเพื่อให้เด็กสามารถใช้ในชีวิตประจำวันจริงๆแทนการฝึกแต่เพียงทักษะทางวิชาการ
-แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program; IEP)

-โรงเรียนการศึกษาพิเศษเฉพาะทาง โรงเรียนเรียนร่วม ห้องเรียนคู่ขนาน

2.การฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคม
-การฝึกฝนทักษะในชีวิตประจำวัน (Activity of Daily Living Training)
-การฝึกฝนทักษะสังคม (Social Skill Training)

-การสอนเรื่องราวทางสังคม (Social Story)

 3. การบำบัดทางเลือก
-การสื่อความหมายทดแทน (AAC)
-ศิลปกรรมบำบัด (Art Therapy)
-ดนตรีบำบัด (Music Therapy)
-การฝังเข็ม (Acupuncture)
-การบำบัดด้วยสัตว์ (Animal Therapy)


การสื่อความหมายทดแทน 
(Augmentative and Alternative Communication ; AAC)


-การรับรู้ผ่านการมอง (Visual Strategies)
-โปรแกรมแลกเปลี่ยนภาพเพื่อการสื่อสาร (Picture Exchange Communication System; PECS)
-เครื่องโอภา (Communication Devices)
-โปรแกรมปราศรัย

















การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ
Picture Exchange Communication System (PECS)






1.ทักษะทางสังคม เด็กพิเศษที่ขาดทักษะทางสังคม ไม่ได้มีสาเหตุมาจากการขาดพ่อแม่
- กิจกรรมการเล่น การเล่นเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อการเรียนรู้ทักษะทางสังคม
ยุทธศาสตร์การสอน 
ครูเริ่มต้นจากการสังเกตเด็กแต่ละคนอย่างเป็นระบบ
จดบันทึก ทำแผน IEP

การกระตุ้นการเลียนแบบและการเอาอย่าง
-วางแผนกิจกรรมการเล่นไว้หลายๆอย่าง คำนึงถึงเด็กทุกๆคน ให้เด็กเล่นเป็นกลุ่มเล็กๆ 2-4 คน
- เด็กปกติทำหน้าที่เป็นครูให้เด็กพิเศษ

ครูปฏิบัติอย่างไรขณะเด็กเล่น
- อยู่ใกล้ๆ และเฝ้ามองอย่างสนใจ ยิ้มและพยักหน้าให้ ถ้าเด็กหันมาหาครู
-ไม่ชมเชยหรือสนใจเด็กเกินไป
-เอาวัสดุมาเพิ่ม เพื่อยืดเวลาเพิ่ม
-ให้ความคิดเห็นที่เป็นแรงเสริม

  การให้แรงเสริมทางสังคมในบริบทที่เด็กเล่น
- ครูพูดชักชวนให้เด็กร่วมเล่นกับเพื่อน
- ทำโดยการพูดนำของครู

2. ทักษะทางภาษา
การออกเสียงผิด/พูดไม่ชัด 
การพูดตกหล่น การใช้เสียงหนึ่งแทนอีกเสียง ติดอ่าง

การสอนตามเหตุการณ์
3. ทักษะการช่วยเหลือตนเอง
เรียนรู้การดำรงชีวิตโดยอิสระให้มากที่สุด การกินอยู่ การเข้าห้องน้ำ การแต่งตัว กิจวัตรต่างๆในชีวิตประจำวัน

4. ทักษะพื้นฐานทางการเรียน
การช่วยให้เด็กแต่ละคนเรียนรู้ได้ มีความรู้สึกดีต่อตนเอง อยากสำรวจอบากทดลอง

ครูได้สมมติเหตุการณ์หนึ่งในห้องเรียนขึ้น
ในขณะที่น้องพลอยใส่ผ้ากันเปื้อนเองไม่ได้ ในฐานะที่นักศึกษาเป็นครูจะทำอย่างไร
ให้ช่วยกับตอบ และครูก็สาธิตให้ดู



Classroom Evaluation
ห้องเรียนสะอาดเรียบร้อย บรรยากาศน่าเรียน แอร์เย็นสบาย โต๊ะเรียนเพียงพอสำหรับนักศึกษา


Self Evaluation
เข้าเรียนตรงเวลา แต่งการสะอาดเรียบร้อย ตั้งใจเรียนจดบันทึกตาม มีส่วนร่วมในกิจกรรม
Evaluation for Classmated
เพื่อนแต่งกายเรียบร้อย พบบางคนมาสายบ้างเล็กน้อย มีส่วนร่วมในการตอบคำถามอาจารย์ 


Evaluation Teacher
อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา แต่งการสุภาพเรียบร้อย มีเทคนิคการสอนที่เข้าใจง่าย มีตัวอย่างให้ดู มีความเป็นกันเองกับนักศึกษา สอนสนุกไม่อึดอัด








Recorded Diary 13 Friday 15 April 2016

Recorded Diary 13



วันเสาร์ที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2559

Recorded Diary 12 Friday 8 April 2016


Recorded Diary 12



งดการเรียนการสอน

Recorded Diary 11 Friday 1 April 2016


Recorded Diary 11







ความหมายของการศึกษาแบบการเรียนร่วม
(Integrated Education & Mainstreming)

เป็นการจัดให้เด็กพิเศษได้เข้าไปในระบบของการศึกษาทั่วไป มีกิจกรรมให้เด็กพิเศษกับเด็กทั่วไปได้ทำร่วมกัน โดยได้ใช้ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งในการทำกิจกรรมในแต่ละวัน และยังมีการจัดให้ครูปฐมวัยและครูการศึกษาพิเศษได้ปฏิบัติกิจกรรมร่วมกัน


 


รูปแบบการจัดการศึกษา
1. การศึกษาปกติทั่วไป
2. การศึกษาพิเศษ
3. การศึกษาแบบเรียนร่วม
4. การศึกษาแบบเรียนรวม


การเรียนร่วมแบ่งออกเป็น 2 เวลา
1. การเรียนร่วมบางเวลา (Integration)
2. การเรียนร่วมเต็มเวลา (Mainstreaming)


ภาพกิจกรรมที่อาจารย์ให้ทำในคาบเรียน
อาจารย์วาดรูปภาพตามที่ปรากฏเห็น และบรรยายตามคสามรู้สึกที่เรามองเห็นจากภาพนั้น



Classroom Evaluation
ห้องเรียนสะอาดเรียบร้อย บรรยากาศน่าเรียน แอร์เย็นสบาย โต๊ะเรียนเพียงพอสำหรับนักศึกษา

Self Evaluation
เข้าเรียนตรงเวลา แต่งการสะอาดเรียบร้อย ตั้งใจเรียนจดบันทึกตาม มีส่วนร่วมในการถาม-ตอบกับอาจารย์และเพื่อนๆ

Evaluation for Classmated
เพื่อนแต่งกายเรียบร้อย พบบางคนมาสายบ้างเล็กน้อย มีส่วนร่วมในการตอบคำถามอาจารย์ 

Evaluation Teacher
อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา แต่งการสุภาพเรียบร้อย มีเทคนิคการสอนที่เข้าใจง่าย มีตัวอย่างให้ดู มีความเป็นกันเองกับนักศึกษา สอนสนุกไม่อึดอัด

วันอาทิตย์ที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2559

วันพฤหัสบดีที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2559

Recorded Diary 8 Friday 11 March 2016

Recorded Diary 8
















เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
 (Children with Behavioral and Emotional Disorders)







ลักษณะของเด็กบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
-ความวิตกกังวล (Anxiety) ซึ่งทำให้เด็กมีนิสัยขี้กลัว
-ภาวะซึมเศร้า (Depression) มีความเศร้าในระดับที่สูงเกินไป
-ปัญหาทางสุขภาพ และขาดแรงกระตุ้นหรือความหวังในชีวิต

 การจำแนกเด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ ตามกลุ่มอาการ

ด้านความประพฤติ (Conduct Disorders)
-ทำร้ายผู้อื่น ทำลายสิ่งของ ลักทรัพย์
-ฉุนเฉียวง่าย หุนหันพลันแล่น และเกรี้ยวกราด
-กลับกลอก เชื่อถือไม่ได้ ชอบโกหก ชอบโทษผู้อื่น
-เอะอะและหยาบคาย

ด้านความตั้งใจและสมาธิ
(Attention and Concentration)
-จดจ่ออยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งในระยะสั้น (Short attention span) อาจไม่เกิน 20 วินาที
-ถูกสิ่งต่างๆ รอบตัวดึงความสนใจได้ตลอดเวลา




เด็กสมาธิสั้น
 (Children with Attention Deficit Hyperactivity Disorders)





สมาธิสั้น (Attention Deficit)
-มีลักษณะกระวนกระวาย ไม่สามารถนั่งนิ่งๆ ได้ หยุกหยิกไปมา
-พูดคุยตลอดเวลา มักรบกวนหรือเรียกร้องความสนใจจากผู้อื่น
-มีทักษะการจัดการในระดับต่ำ


ADHD เป็นภาวะผิดปกติทางจิตเวช มีลักษณะเด่นอยู่ 3 ประการ คือ
-Inattentiveness
-Hyperactivity
-Impulsiveness

Inattentiveness สมาธิสั้น
-ทำอะไรได้ไม่นาน วอกแวก ไม่มีสมาธิ
-ไม่สามารถจดจ่อกับงานที่กำลังทำได้นานเพียงพอ
-มักใจลอยหรือเหม่อลอยง่าย

Hyperactivity ซนไม่อยู่นิ่ง
-ซุกซนไม่ยอมอยู่นิ่ง ซนมาก
-เคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา
-เหลียวซ้ายแลขวา

Impulsiveness หุนหันพลันแล่น
-ยับยั้งตัวเองไม่ค่อยได้ มักทำอะไรโดยไม่ยั้งคิด วู่วาม
-ขาดความยับยั้งชั่งใจ
-ไม่อดทนต่อการรอคอย หรือกฎระเบียบ


 



การถอนตัวหรือล้มเลิก (Withdrawal)
-หลีกเลี่ยงการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น และมักรู้สึกว่าตนเองด้อยกว่าผู้อื่น
-เฉื่อยชา และมีลักษณะคล้ายเหนื่อยตลอดเวลา
-ขาดความมั่นใจ ขี้อาย ขี้กลัว ไม่ค่อยแสดงความรู้สึก

ความผิดปกติในการทำงานของร่างกาย
(Function Disorder)
-ความผิดปกติเกี่ยวกับพฤติกรรมการกิน (Eating Disorder)
-การอาเจียนโดยสมัครใจ (Voluntary Regurgitation)
-การปฏิเสธที่จะรับประทาน
-รับประทานสิ่งที่รับประทานไม่ได้

ภาวะความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ระดับรุนแรง
-ขาดเหตุผลในการคิด
-อาการหลงผิด (Delusion)
-อาการประสาทหลอน (Hallucination)
-พฤติกรรมการทำร้ายตัวเอง

สาเหตุ
-ปัจจัยทางชีวภาพ (Biology)
-ปัจจัยทางจิตสังคม (Psychosocial)


เด็กพิการซ้อน
(Children with Multiple Handicaps)




-เด็กที่มีความบกพร่องที่มากกว่าหนึ่งอย่าง เป็นเหตุให้เกิดปัญหาขัดข้องในการเรียนรู้อย่างมาก
-เด็กปัญญาอ่อนที่สูญเสียการได้ยิน
-เด็กปัญญาอ่อนที่ตาบอด

-เด็กที่ทั้งหูหนวกและตาบอด

Classroom Evaluation


ห้องเรียนสะอาด จัดโต๊ะเรียนเป็นระเบียบ แอร์เย็นสบาย 

Self Evaluation
มาเรียนตรงเวลา แต่งการเรียบร้อย ตั้งใจเรียน จดบันทึกตาม มีสมาธิ มีส่วนร่วม

Evaluation for Classmated
เพื่อนแต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจเรียน มีส่วนร่วมช่วยกันตอบคำถามกับคุณครู 

Evaluating Teacher
อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายสะอาดเรียบร้อย เฮฮาเป็นกันเองกับนักศึกษา สอนสนุก